วันพุธที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานวิจัยกับโครงการ

ให้ตอบคำถามว่า แต่ละบท(5 บท)ในงานวิจัยที่หามามีส่วนประกอบอะไรบ้าง แต่ละบท(5บท)ของโครงการมีส่วนประกอบอะไรบ้าง

5 ความคิดเห็น:

  1. ปริญญานิพนธ์ (โครงการ) การพัฒนาระบบจัดการความรู้ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม กรณีศึกษา : ฝ่ายกิจการนักศึกษา
    บทที่ 1 บทนำ
    - หลักการและเหตุผล
    - วัตถุประสงค์
    - ขอบเขตของโครงการ
    บทที่ 2 ทฤษฏีและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
    - ความหมาย ความสำคัญของความรู้ และกระบวนการจัดการความรู้
    - การศึกษาและพัฒนาระบบจัดการความรู้
    - เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้
    - ตัวอย่างองค์กรที่มีการจัดการ KM
    - การพัฒนาระบบ
    - การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
    - งายวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    - บทสรุป
    บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน
    - ศึกษาเอกสารและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
    - การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
    - การออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูล
    - การออกแบบหน้าจอโปรแกรม
    - การสร้างและพัฒนาระบบ
    - ทดสอบการใช้งานและปรับปรุงแก้ไข
    - สรุปผลและจัดทำปริญญานิพนธ์
    บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
    - ส่วนของหน้าจอหลัก
    - ผู้ดูแลระบบเข้าสู่ระบบจัดการข้อมูล
    - อาจารย์/ เจ้าหน้าที่
    - นักศึกษาศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบัน
    บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
    - สรุปผลของการดำเนินงาน
    - ปัญหาและแนวทางแก้ไข
    - ข้อเสนอและ

    บรรณานุกรม
    ภาคผนวก
    ประวัติผู้จัดทำ


    วิทยานิพนธ์(งานวิจัย) การพัฒนาระบบการจัดการความรู้สำหรับส่วนงานพัฒนาวิชาการโรงเรียนเทคโนโลยีสยาม

    บทที่ 1 บทนำ
    - ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
    - วัตถุประสงค์
    - สมมติฐานการวิจัย
    - ขอบเขตฐานการวิจัย
    - นิยามศัพท์เฉพาะ
    - ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
    บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    - ส่วนงานพัฒนาวิชาการและหน้าที่ความรับผิดชอบ
    - ความหมาย ความสำคัญของความรู้ และกระบวนการจัดการความรู้
    - เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการความรู้
    - แนวคิดการทำ KM ในไทย
    - การศึกษาและพัฒนาระบบการจัดการความรู้
    - งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
    - ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
    - เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
    - การเก็บรวบรวมข้อมูล
    - สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
    บทที่ 4 ผลการวิจัย
    - การพัฒนาการพัฒนาระบบการจัดการความรู้สำหรับส่วนงานพัฒนาวิชาการ
    โรงเรียนเทคโนโลยีสยาม
    - ผลการประเมินความคิดเห็น
    บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
    - สรุปผล
    - อภิปรายผล
    - ข้อเสนอแนะ

    บรรณานุกรม
    ภาคผนวก
    ประวัติผู้วิจัย

    ตอบลบ
  2. โครงงาน การพัฒนาระบบจัดการสื่อสอนเสริมมัลติมีเดียแบบออนไลน์
    บทที่ 1 บทนำ
    1.1ความเป็นมาของโครงงาน
    1.2วัตถุประสงค์ของโครงงาน
    1.3ขอบเขตโครงงาน
    1.4ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
    บทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
    2.1การผลิตสื่อเสริมเพื่อการศึกษา
    2.2สื่อสิ่งต่อเนื่อง(Streaming Media)
    2.3ระบบการจัดการเนื้อหาของเว็บไซต์ (Content Management System : CMS)
    2.4วิดีโอออนดีมานด์ (Video on Demand)
    2.5ระบบฐานข้อมูล (Database System)
    2.6ภาษาเอชทีเอชทีเอ็มแอล (HTML : Hyper Text Markup Language)
    2.7ภาษาพีเอชพี (PHP : Professional Home Page)
    2.8โปรแกรมมายเอสคิวแอล (MySQL)
    2.9Cascading Style Sheets (CSS)
    2.10 สรุป
    บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินงาน
    3.1ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
    3.2รวบรวมข้อมูล
    3.3การวิเคราะห์
    3.4ออกแบบระบบและฐานข้อมูล
    3.5สร้างและพัฒนาระบบ
    3.6ทดลองใช้งาน
    3.7แก้ไขและปรับปรุงระบบ
    3.8สรุปผลและเขียนปริญญานิพนธ์
    บทที่ 4 ผลของการดำเนินงาน
    4.1กกส่วนของเว็บเพจ
    4.1.1เว็บเพจหน้าล๊อกอิน
    4.1.2เว็บเพจในส่วนของการลงทะเบียน
    4.1.3เว็บเพจในส่วนของอาจารย์
    4.1.4เว็บเพจในส่วนของผู้ดูแลระบบ
    4.1.5เว็บเพจในส่วนของผู้ใช้งานทั่วไปและนักศึกษา
    บทที่ 5 สรุปผลและแนวทางพัฒนา
    5.1สรุปผลการดำเนินงาน
    5.2ปัญหาและแนวทางการแก้ไข
    5.3แนวทางการพัฒนา
    บรรณานุกรม
    ภาคผนวก ก
    การติดตั้งโปรแกรม
    ภาคผนวก ข
    คู่มือการใช้งานโปรแกรม
    ประวัติผู้จัดทำ

    งานวิจัย การบูรณาการกายวิภาคศาสตร์และการนำเสนอแบบ 3 มิติกับภูมิปัญญาไทยท่าฤๅษีดัดตน
    บทที่ 1 บทนำ
    1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
    1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
    1.3 ขอบเขตของการวิจัย
    1.4 นิยามศัพท์เฉพาะ
    1.5 การดำเนินการวิจัย
    1.6 ประโยชน์ของงานวิจัย
    บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    2.1 การบริหารแบบไทยท่าฤๅษีดัดตน
    2.2 กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
    2.3 คอมพิวเตอร์กราฟิก 3 มิติ
    2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
    3.1 การศึกษาข้อมูล
    3.2 การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
    3.3 การพัฒนาแบบจำลอง 3 มิติ ท่าฤๅษีดัดตน
    3.4 การดำเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล
    บทที่ 4 ผลการวิจัย
    4.1 ผลการพัฒนาแบบจำลอง 3 มิติ ท่าฤๅษีดัดตน
    4.2 ผลประเมินจากผู้เชี่ยวชาญด้านกายวิภาคศาสตร์
    4.3 ผลการสร้างสื่อนำเสนอ
    บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
    5.1 สรุปผล
    5.2 อภิปรายผลการวิจัย
    5.3 อุปสรรคและปัญหาที่พบ
    5.4 ข้อเสนอแนะ
    บรรณานุกรม
    ภาคผนวก ก
    รายนามผู้เชี่ยวชาญในการประเมินด้านแพทย์แผนไทยฤๅษีดัดตน
    หนังสือเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญประเมินด้านแพทย์แผนไทยฤๅษีดัดตน
    รายนามผู้เชี่ยวชาญในการประเมินด้านกายวิภาคศาสตร์
    หนังสือเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญประเมินด้านกายวิภาคศาสตร์
    รายนามผู้เชี่ยวชาญในการประเมินด้านสื่อมัลติมีเดีย
    หนังสือเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญประเมินด้านสื่อมัลติมีเดีย
    ภาคผนวก ข
    แบบประเมินด้านแพทย์แผนไทยฤๅษีดัดตน
    แบบประเมินด้านกายวิภาคศาสตร์
    แบบประเมินด้านมัลติมีเดีย
    ภาคผนวก ค
    ผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญด้านแพทย์แผนไทย
    ผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญสื่อด้านกายวิภาคศาสตร์
    ผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญสื่อด้านมัลติมีเดีย
    ประวัติผู้วิจัย

    ตอบลบ
  3. โครงการ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บเรื่องการวางแผนการสอนวิชาปฏิบัติ
    บทที่ 1 บทนำ
    1.1ความเป็นมาของโครงงาน
    1.2วัตถุประสงค์ของโครงงาน
    1.3ขอบเขตโครงงาน
    1.4ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
    บทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
    2.1 การวางแผนการสอนปฏิบัติ
    2.2 การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์
    2.3 เกมกับการศึกษา
    2.4 โปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์
    2.5 การใช้งานระบบ LearnSquare
    2.6 สรุป
    บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน
    3.1 วิเคราะห์บทเรียน
    3.2 ออกแบบบทเรียน
    3.3 การพัฒนาบทเรียน
    3.4 ทดสอบบทเรียน
    3.5 สรุปข้อมูลทั้งหมดเขียนเป็นปริญญานิพนธ์
    บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
    4.1 หน้าโฮมเพจ
    4.2 หน้าเมนูสำหรับสมัครเรียน
    4.3 ส่วนของการใช้งาน
    บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
    5.1 สรุปผล
    5.2 ปัญหาและแนวทางแก้ไข
    5.3 ข้อเสนอแนะ

    วิจัย การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยใช้กระบวนการคิดเชิงตรรกะ วิชาคณิตศาสตร์ สำหรับเด็ก ป.1
    บทที่ 1 บทนำ
    1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
    1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
    1.3 สมมติฐานการวิจัย
    1.4 ขอบเขตของการวิจัย
    1.5 นิยามคำศัพท์เฉพาะ
    1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
    บทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
    2.1 หลักสูตรแกนกลางการศึกาาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
    2.2 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน IMMCAI
    2.3 กระบวนการคิดเชิงตรรกะ(Logical Thinking)
    2.4 หลักการออกแบบและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
    2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    2.6 สรุปแนวทางการวิจัย
    บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
    3.1 การศึกษาข้อมูลและหลักสูตรรายวิชา
    3.2 การกำหนดประชากร
    3.3 การกำหนดรูปแบบการทดลอง
    3.4 การวิเคราะห์และออกแบบเนื้อหาของบทเรียน
    3.5 การสร้างเครื่องมือที่ใช้การวิจัย
    3.6 การดำเนินการทดสอบและประเมินผล
    3.7 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้
    บทที่ 4 ผลการวิจัย
    4.1 ผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยใช้กระบวนการคิดเชิงตรรกะ วิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
    4.2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยใช้กระยวนการคิดเชิงตรรกะ วิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
    4.3 ผลการเปรียบเทียบกระบวนการคิดเชิงตรรกะก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยใช้กระยวนการคิดเชิงตรรกะ วิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
    บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
    5.1 สมมติฐานการวิจัย
    5.2 สรุปผล
    5.3 อภิปรายผล
    5.4 ข้อเสนอแนะ

    ตอบลบ
  4. Project การสร้างเว็บสนับสนุนเพื่อการทบทวนบทเรียน วิชาการเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการเท็กซ์โหมด หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา
    บทที่ 1 บทนำ
    - หลักการและเหตุผล
    - วัตถุประสงค์ของโครงงาน
    - ขอบเขตของโครงงาน
    -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
    บทที่ 2 ทฤษฏีและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
    - ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
    - แนวคิดและหลักการพัฒนาเว็บสนับสนุนเพื่อการทบทวนบทเรียนผ่านระบบเครือข่าย
    - ระบบ E-learning
    - ระบบ LMS
    - การออกแบบการสอน
    - การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
    - โปรแกรมประยุกต์ที่ใช้ในการพัฒนาระบบ
    - บทสรุป
    บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินงาน
    - ศึกษาระบบ LMS ด้วยโปรแกรม Moodle
    - ติดตั้งโปรแกรม Moodle เพื่อสร้างเว็บสนับสนุนเพื่อการทบทวนบทเรียน
    - จัดเตรียมบทเรียน
    - จัดเตรียมสื่อการสอน
    - จัดเตรียมแบบฝึกจำลองสถานการณ์
    - นำบทเรียนสื่อการสอนและแบบฝึกจำลองสถานการณ์เข้าสู่ระบบ LMS
    - แก้ไขและปรับปรุงระบบ
    - จัดทำปริญญานิพนธ์
    บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
    -หน้าหลักของระบบ
    - ส่วนย่อยของเว็บที่สามารถลิงค์เข้าไปตามสิทธ์ของผู้ใช้
    - ผู้ดูแลระบบเข้าสู่ระบบจัดการข้อมูล
    - อาจารย์ผู้สอนเข้าสู่ระบบ
    - นักศึกษาเข้าสู่ระบบ
    - บทสรุปของการดำเนินงาน
    บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
    - สรุปผลของโครงงาน
    - ปัญหาและแนวทางแก้ไข
    - ข้อเสนอแนะในการพัฒนา

    บรรณานุกรม
    ภาคผนวก ก
    - การติดตั้งโปรแกรม Appserv
    - การติดตั้งโปรแกรม Moodle
    ภาคผนวก ข
    - คู่มือการใช้งานเว็บสนับสนุนเพื่อการทบทวนบทเรียน
    ประวัติผู้จัดทำ



    วิทยานิพนธ์ (งานวิจัย) การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บในรูปแบบการ์ตูนสองมิติ และสามมิติ ร่วมกับเกม วิชา พระพุทธศาสนา

    บทที่ 1 บทนำ
    - ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
    - วัตถุประสงค์ของการวิจัย
    - สมมติฐาน
    - ขอบเขตของการวิจัย
    - นิยามคำศัพท์เฉพาะ
    - ประโยชน์ของการวิจัย
    บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    - วิชาพระพุทธศาสนาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
    - บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ
    - หลักการสร้างการ์ตูนแอนิเมชันสองมิติ และสามมิติ
    - เกมการสอน
    - การประเมินผลบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ
    - งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    -บทสรุป
    บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
    - ศึกษาข้อมูลและวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา
    - กำหนดแบบแผนการทดลอง
    - กำหนดประชากรและคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง
    - สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
    - ดำเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล
    - วิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้
    บทที่ 4 ผลการวิจัย
    - ผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ
    - ผลการทดสอบประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ
    - ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนกับหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ
    บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
    - สรุปผลการวิจัย
    - อภิปรายผลการวิจัย
    - ปัญหาและอุปสรรคการวิจัย
    - ข้อเสนอแนะ
    บรรณานุกรม
    ภาคผนวก ก
    - รายนามผู้เชี่ยวชาญ
    - หนังสือเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือวิจัย
    - แบบการประเมินคุณภาพสื่อการสอนงานวิจัย
    ภาคผนวก ข
    - คำอธิบายรายวิชา
    - โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้
    - การวิเคราะห์งานหรือภารกิจ
    - Task Evaluation Sheet
    - วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
    ภาคผนวก ค
    - แบบทดสอบและเฉลย
    - คะแนนความเที่ยงตรงด้านเนื้อหา
    - ค่าความยากง่าย และ อำนาจจำแนกของแบบทดสอบ
    - การหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ
    ภาคผนวก ง
    - ผลการหาประสิทธิภาพบทเรียน
    - ผลการหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของบทเรียน
    ภาคผนวก จ
    - ตัวอย่างภาพในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ
    ประวัติผู้วิจัย

    ตอบลบ
  5. โครงการ โปรแกรมฝึกร้องเพลงสำหรับเด็กระดับชั้นอนุบาล
    บทที่ 1 บทนำ
    - ความเป็นมาและความสำคัญของปริญญานิพนธ์
    - วัตถุประสงค์ของปริญญานิพนธ์
    - ขอบเขตของปริญญานิพนธ์
    -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
    บทที่ 2 ทฤษฏีและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
    - คาราโอเกะ
    - หลักสูตรระดับก่อนประถมศึกษา (ปฐมวัย)
    - โปรแกรม Adobe Flash CS3 Professional
    - การใช้ Action Script เบื้องต้น
    - การออกแบบภาพเคลื่อนไหว (Animation Design)
    - งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    - สรุปทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน
    - การศึกษาและรวบรวมข้อมูล
    - การวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรม
    - การสร้างและพัฒนาโปรแกรม
    - การทดสอบประสิทธิภาพของโปรแกรม
    - การจัดทำปริญญานิพนธ์
    - ระยะเวลาดำเนินการ
    บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
    - ผลการพัฒนาโปรแกรมฝึกหัดร้องเพลงสำหรับเด็กระดับชั้นอนุบาล
    - ผลการประเมินของผู้ใช้งานโปรแกรมจากแบบสอบถาม
    บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
    - สรุปผลการดำเนินงาน
    - ข้อจำกัดและปัญหาการพัฒนาโปรแกรม
    - ข้อเสนอแนะ

    บรรณานุกรม
    ภาคผนวก ก
    - แบบสอบถามสำหรับผู้ใช้งาน
    ภาคผนวก ข
    - คู่มือการใช้งาน
    ประวัติผู้จัดทำ



    งานวิจัย การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บวิชา ระบบเสียง ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสาธิต
    บทที่ 1 บทนำ
    - ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
    - วัตถุประสงค์ของการวิจัย
    - สมมติฐาน
    - ขอบเขตของการวิจัย
    - ข้อตกลงเบื้องต้น
    - คำจำกัดความที่ใช้ในการวิจัย
    - ประโยชน์ของผลการวิจัย
    บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    - วิชาระบบเสียง
    - บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ
    - หลักการออกแบบและสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ
    - การจัดการเรียนการสอนของ “Robert Gagne”
    - เทคนิคการสอนแบบสาธิต
    - หลักการออกแบบเว็บเพจเพื่อการศึกษา
    - การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรม Moodle
    - การประเมินผลบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บในการวิจัย
    - งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    -บทสรุป
    บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
    - ศึกษาหลักสูตรรายวิชา
    - กำหนดประชากรและคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง
    - กำหนดแบบแผนการทดลอง
    - ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
    - การดำเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล
    - วิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิจัย
    บทที่ 4 ผลการวิจัย
    - ผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ วิชา ระบบเสียง ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสาธิต
    - ผลการวิเคราะห์บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ วิชา ระบบเสียง ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสาธิต
    - ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนก่อนและหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ วิชา ระบบเสียง ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสาธิต
    - ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เรียน ที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ วิชา ระบบเสียง ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสาธิต
    บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
    - สรุปผลการวิจัย
    - อภิปรายผลการวิจัย
    - ข้อเสนอแนะ
    บรรณานุกรม
    ภาคผนวก ก
    - หนังสือขอเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญประเมินสื่อการสอน
    -รายนามผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิควิธีการและด้านเนื้อหา
    - แบบประเมินสื่อการเรียนด้านเทคนิคและวิธีการ
    - แบบประเมินสื่อการเรียนด้านเนื้อหา
    - แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน
    ภาคผนวก ข
    - หลักสูตรรายวิชา ระบบเสียง
    - หัวข้อบทเรียนหลังจากขั้นตอนการวิเคราะห์เนื้อหาวิชา ระบบเสียง
    - แผนผังเครือข่าย (Network Diagram) และแผนผังปะการัง (Coral Pattern)
    - วิเคราะห์เนื้อหาวิชา ระบบเสียง
    - จัดประสงค์การสอน วิชา ระบบเสียง
    - การประเมินความสอดคล้องแบบทดสอบและวัตถุปรสงค์เชิงพฤติกรรม
    ภาคผนวก ค
    - การวิเคราะห์ค่าความยากง่าย และ ค่าอำนาจจำแนก
    - ข่อสอบวิชา ระบบเสียง
    ภาคผนวก ง
    - การออกแบบทเรียน และตัวอย่างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บวิชา ระบบเสียง ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสาธิต
    ภาคผนวก จ
    - การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บวิชา ระบบเสียง ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสาธิต
    - การหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
    ประวัติผู้วิจัย

    ตอบลบ